วันพุธที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บทที่1

หน่วยรับข้อมูล

   เริ่มต้นด้วยการนำข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์  ซึ่งสามารถผ่านทางอุปกรณ์ชนิดต่างๆ แล้วแต่ชนิดของข้อมูลที่จะป้อนเข้าไป เช่น   ถ้าเป็นการพิมพ์ข้อมูลจะใช้แผงแป้นพิมพ์ (Keyboard) เพื่อพิมพ์ข้อความหรือโปรแกรมเข้าเครื่อง   ถ้าเป็นการเขียนภาพจะใช้เครื่องอ่านพิกัดภาพกราฟิค (Graphics Tablet) โดยมีปากกาชนิดพิเศษสำหรับเขียนภาพ   หรือถ้าเป็นการเล่นเกมก็จะมีก้านควบคุม (Joystick) สำหรับเคลื่อนตำแหน่งของการเล่นบนจอภาพ เป็นต้น




เมาส์


คีย์บอร์ท


Image
สเเกนเนอร์






หน่วยประมวลผลข้อมูล






   หน่วยประมวลผลข้อมูล หรือ CPU (Central Processing Unit) ใช้คำนวนหรือประมวลผลคำสั่งต่างๆ
ตามโปรเเกรมที่กำหนด


CPU






หน่วยจัดเก็บข้อมูล

    คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องใช้พื้นที่การจัดเก็บและหน่วยความจำในการเรียกใช้โปรแกรมและจัดเก็บแฟ้มต่างๆ หน่วยความจำและที่เก็บข้อมูลมีหลายประเภท แต่ละประเภทก็มีวัตถุประสงค์ต่างกันไป คนส่วนใหญ่จะใช้อุปกรณ์เก็บข้อมูลต่อไปนี้ร่วมกัน


หน่วยความจำหลัก

   หน่วยคววามจำเเบบลบเลือนได้ คือ หากไฟดับขณะใช้งาน ข้อมูลจะหายเรียกว่า เเรม(RAM)
หน่วยความจำเเบบลบเลือนไม่ได้ คือ หน่วยความจำถาวร เเม้ไฟจะดับข้อมูลก็ยังจะอยู่เหมือน เดิมเรียกว่า รอม (ROM)



 หน่วยความจำสำรอง คือ หน่วยความจำที่ช้วยให้คอมพิวเตอร์สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้น
ได้เเก่


ฮาร์ดดิสก์





ยูเอสบีเเฟลชไดรฟ์





หน่วยเเสดงผลข้อมูล


   เมื่อทำการประมวลผลเเล้ว คอมพิวเตอร์จะเเสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เเสดงผลข้อมูล เช่น หากเป็นรูปภาพกราฟิกก็จะเเสดงผลทางจอภาพ ถ้าหากเป็นเอกสารจะเเสดงทางเครื่องพิมพ์ หรือหากเป็นในรูปเเบบเสียงก็จะเเสดงผลออกทางลำโพง เป็นต้น


เครื่องพิมพ์




จอภาพ





ลำโพง



คำถาม

1. หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์มี 4 อย่างอะไรบ้าง
 ตอบ 1.หน่วยรับข้อมูล 2.หน่วยประมวลผลกลาง 3.หน่วยเเสดงผล4.หน่วยความจำ

2.หน่วยรับข้อมูลเข้าหมายถึงอะไร
ตอบ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลหรือคำสั่ง

3.หน่วยรับข้อมูลมีอุปกรณ์ อะไรบ้าง
ตอบ เเป้นพิมพ์หรือคีบอร์ด เมาส์ กล้องดิจิตัล สเเกนเนอร์ เเล้วเครื่องอ่านรหัสโอซีอาร์

4.หน่วยประมวลผลกลางคืออะไร
ตอบ สมองหรือหัวใจของคอมพิวเตอร์

5.หน่วยประมวลผลกลางมีการทำงาน2หน่วย อะไรบ้าง
ตอบ 1.หน่วยรับข้อมูล 2.หน่วยคำนวณ


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น